ข้อแนะในการทำสำหรับผู้ที่มีภาวะเซื่องซึม

อย่าตั้งเป้าในการงานและการปฏิบัติตัวที่ยากเกินไป ปวดหลังเรื้อรัง

s_430หรือรับผิดชอบมากเกินไป .แยกแยะปัญหาใหญ่ๆให้เป็นส่วนย่อยๆ พร้อมทั้งจัดความสำคัญก่อนหลังและลงมือทำเท่าที่สามารถทำได้ ปวดหลังเรื้อรัง อย่าพยายามบีบคั้นตนเอง หรือมุ่งมั่นกับตนเองให้สูงเกินไป เพราะอาจไปเพิ่มความรู้สึกผิดหวังในภายหลัง พยายามทำกิจกรรมต่างๆร่วมกับบุคคลอื่นดีกว่าอยู่เพียงลำพัง เลือกทำกิจกรรมที่จะสร้างความรู้สึกที่ดีขึ้น หรือรื่นเริงและไม่หนักเกินไป เช่น ปวดหลัง การออกกำลังเบาๆ การชมภาพยนตร์ การร่วมทำกิจกรรมทางสังคม อย่าปลงใจในเรื่องที่สำคัญต่อชีวิตมากๆ เช่น การลาออกจากงาน การแต่งงาน หรือการหย่าร้าง โดยไม่ได้ปรึกษาผู้ใกล้ชิดที่รู้จักผู้ป่วยดี และต้องเป็นบุคคลที่สามารถพิจารณาเหตุการณ์นั้นอย่างเที่ยงตรง มีความเป็นกลาง ปวดหลังเรื้อรัง และปราศจากอคติที่เกิดจากอารมณ์มาบดบังถ้าเป็นไปได้ และที่ดีที่สุดคือ เลื่อนการตัดสินใจออกไปจนกว่าภาวะโรคซึมเศร้าจะหายไปหรือดีขึ้นมากแล้ว

 

ไม่ควรกล่าวร้ายหรือลงโทษตนเอง ปวดหลังเรื้อรัง

zzz0511ที่ไม่สามารถทำได้อย่างที่ต้องการปวดหลัง เพราะไม่ใช่ความผิดพลาดของคนไข้ ควรทำเท่าที่ตนเองทำได้ อย่ายอมรับว่าความคิดในแง่ร้ายที่เกิดขึ้นในภาวะเศร้าหมองเป็นส่วนหนึ่งที่แท้จริงของตนเอง เพราะโดยแท้จริงแล้วเป็นส่วนหนึ่งของโรคหรือความป่วยไข้ และสามารถหายไปได้เมื่อรักษาปวดหลัง ในขณะที่ผู้ป่วยโรคเซื่องซึมกลายเป็นคนที่ต้องการความช่วยเหลือจากบุคคลอื่น ก็อาจมีบุคคลรอบตัวๆที่ไม่เข้าใจในความเจ็บป่วยของผู้ป่วย